top of page

“Within us, There are spirits” by Yanini Pongpakatien

Programme

Violin Concerto No.1 in D Major, Op.19 (1915-1917) I.Andantino                                                     Sergey Prokofiev

Sonata for violin and piano No.1 in D Major, Op.12 No.1 (1798) I.Allegro con brio                    Ludwig van Beethoven

Violin Sonata No.1 in a minor, Op.105 (1851) I.Mit leidenschaftlichem Ausdruck                               Robert Schumann

เส้นทางชีวิตของแต่ละคน ล้วนมีทั้งเหตุการณ์ที่ต่างกันไป ทุกชีวิตอาจมีสิ่งที่เหมือนกัน บางชีวิตอาจมีความเกี่ยวข้องกันทางใดทางหนึ่ง

คุณเคยรู้สึกว่าเหตุการณ์บางเหตุการณ์นั้นเคยเกิดขึ้นมาแล้วบ้างมั้ย? คุณอาจเคยรู้สึกคุ้นกับสถานที่บางที่..

แล้วเสียงที่คุณกําาลังได้ยินล่ะ.. คุณเคยได้ยินมันมีก่อนหรือเปล่า ?

รีไซทอลครั้งนี้เกิดขึ้นมาโดยมีหัวข้อธีมที่เริ่มต้นด้วยการสนใจในเรื่องของภาพซ้ําาๆ ความฝันที่เกิดขึ้นซ้ําาๆ และความคิดของคนที่มีความ ใฝ่ฝันคล้ายๆกัน คําาว่า “เหมือนกัน” มันทําาให้นึกถึงอีกสิ่งนึงขึ้นมา

“เดจา วู”

ทําาให้หลังจากที่ได้ศึกษาคําานี้ไปแล้ว เราได้กลับมาคิดถึงสิ่งที่มัน ‘เกิดขึ้นแล้ว’ ในเพลงที่กําาลังเล่นอยู่ ก็ทําาให้เห็นว่ามันมีการเกิดขึ้นแล้ว เกิดขึ้นอีก เมื่อเรานําาคําานี้ไปสะท้อนกับชีวิตของผู้คน เช่นนักประพันธ์เพลงทั้งหมดนี้ ทําาให้คิดได้ว่ามันก็กลายเป็นมุมมองมองชีวิตของแต่ละคนได้ ชีวิตแต่ละคนนั้นก็มีสิ่งที่เหมือนกันและมีสิ่งที่ต่างกันในชีวิตของแต่ละคน

แต่สิ่งที่เห็นว่ามันอยู่ในตัวของทุกคนคือ ความเชื่อ และสปิริตของการทําาสิ่งที่ตั้งใจ

ในการทําารีไซทอลครั้งนี้ได้สร้างผลงานที่นําามาใช้ประกอบในการแสดงครั้งนี้ด้วยคือเสียงที่ทุกท่านได้ยิน เป็นผลงานการมิกซ์ซาวด์เพื่อนําามา สะท้อน นําาเสนอในเรื่องของปรากฏการณ์เดจาวู
ร่วมกับงานวีดีโอตัดต่อ ซึ่งต้องการสะท้อนชีวิตของผู้ประพันธ์ถึงความเหมือนความแตกต่างทางครอบครัว กิจกรรมในชีวิตประจําาวัน ด้านสังคมสภาพแวดล้อม กาลเวลา และประสบการณ์ที่มี ซึ่งมันส่งผลถึงความคิดและหล่อหลอมตัวเขา อารมณ์ของเขา และฉันคิดว่าใน ดนตรีของเขามันมีทั้งหมดนี้อยู่ในนั้น
วีดีโอนี้ได้นําามาจัดเรียงใหม่ ซึ่งเปิดโอกาสให้ผู้ชมได้เข้าใจโดยใช้มุมมองของตนเองในการสะท้อนและสังเกตเห็นถึงปรากฏการณ์เดจาวูที่ เกิดขึ้น ไม่ว่าจะด้วยการมองเห็นหรือได้ยิน คุณสามารถมองโดยมุมของตนเองได้เลยโดยวิจารณญาณของท่านเอง

ในรีไซทอลนี้ฉันหวังว่าจะทําาให้คนฟังรู้สึกถึงสปิริตที่มีอยู่ ทั้งในเพลงและในตัวฉัน ฉันคิดว่าทุกคนล้วนมีมันในตัว แต่จะสามารถเห็นได้ก็เมื่อ ถึงเวลาของมัน และเมื่อคนๆนึงได้เรียนรู้ รู้สึกถึงคนๆนั้นจริงๆ จะรับรู้ได้ถึงสิ่งนั้น ที่มันอยู่ในตัวคนนั้น เป็นคนๆนั้นนั่นเอง ภายใต้ตัวตน อารมณ์ ความนึกคิดนั้นก็ถูกหล่อหลอมมาจากประสบการณ์ที่ได้รับ จนเข้ามาตัวในตัวเรา และเป็นเราในที่สุด

ความคิดในกรอบ

ความคิดที่ต้องการจะออกจากกรอบ

ความคิดนอกกรอบ

In one’s life, each encounters different unexpected events.
Some lives common to one another, some unthinkably entangled to each other.

Have you ever experienced the exact same thing twice? Maybe had a strange feeling of familiarity to a certain place

What about sounds ?
Do you sometimes feel as if you heard them before?

The theme on which this recital is based is centred around the idea of repetition: repeated images, recurring dreams and thoughts and the motivations and actions of people sharing similar goals. As i explored this idea, i came across the term:
“Déja Vu”

After researching this term, I started looking at the ‘repeated’ and recurring materials in the pieces I was practic- ing. I realised that some of the figures and ideas happen again and again within the pieces. I started reflecting on this, on how music can be seen as a metaphor for how people live, just like the lives of the composers who wrote those pieces. Though our lives are in some ways similar, each one of us experience our time here very differently as we develop our own spiritual beliefs, and philosophical determination.

This recital incorporates the sounds that all of us hear throughout our daily lives combined with pre-recorded musi- cal excerpts from the pieces from my recital. Those ethereal soundscapes evoke the ‘Déja Vu’ impression, one that is based on familiarity but yet cannot be fully grabbed in any logical way.

The background video offers a reflection on the lives of Beethoven and Prokofiev also the quotes from every com- posers include Schumann and Beethoven’s friend, Goethe. Which the quotes can convey thoughts of lives and beliefs. This background video exploring the similarities and differences in their daily routines, familial contexts, social environments and time periods as well as their personal experiences; all of the elements which forged the minds and personalities of those composers. I believe that their music contains and reflects something from all of the above.
The video is edited in such a way as to allow the audience to create their own interpretation, experiencing their own déja vu through the audio-visual associations and connections they will establish.

I want the audience to feel the spirit within the music and within me as I believe everybody has a connection to

that spirit somewhere within themselves. Although we cannot see it, we will feel it when the time comes. When we learn about the collective truth which lies beneath our skin, for that is what makes us whole; it lies beneath our existence, our emotions and our minds absorbed within us, and in the end becomes us.

Thinking inside the box.

Thinking to get out of the box.

Thinking outside the box.

Violin Concerto No.1 in D Major, Op.19 Composed by Sergey Prokofiev I.Andantino

โปรโคเฟียฟเกิดในครอบครัวที่มีพร้อมและเริ่มเรียนรู้ดนตรีจากแม่ของเขาที่เป็นนักเปียโน แม่ของเขาค่อนข้างมีความสําาคัญในชีวิตของเขา มากในเรื่องของดนตรี เพราะแม่เป็นคนเริ่มสอนเปียโนให้เขา แม่เขามีความชอบในบทเพลงของเบโทเฟ่น, โชแปงและลิสท์ทําาให้โปรโคเฟียฟ ได้ฟังตอนเด็กอยู่บ่อยๆ แม่เขาได้พาไปเข้าเรียนที่สถาบันดนตรีเซ็นท์ปีเตอร์สเบิร์กทําาให้โปรโคเฟียฟได้เจอและได้แลกเปลี่ยนความรู้กับนัก ประพันธ์เพลงมากหน้าหลายตามากขึ้น โปรโคเฟียฟเป็นคนค่อนข้างมีความคิดเป็นของตัวเอง มีความต้องการในการทําาสิ่งต่างๆค่อนข้าง ชัดเจน

มีความคิดในการที่อยากจะสร้างสิ่งใหม่ ในช่วงที่มีสงครามเขาได้รับการยกเว้นจากทหารจากการลงชื่อเป็นนักออร์แกน และหลังจากการ ปฏิวัติโปรโคเฟียฟได้รับอนุญาตให้เดินทางออกนอกประเทศได้ เขาได้นําาสกอร์เพลงของเขาไปด้วย ตอนนั้นเขาเดินทางไปอเมริกา ไวโอลิน คอนแชร์โตเบอร์นี้้ก็เป็นผลงานนึงที่เขานําาไปด้วยครั้งนั้น หลังจากที่เขาประสบความสําาเร็จทางงานดนตรีในการไปอเมริกาครั้งแรก โปรโคเฟียฟก็คิดจะย้ายไปอาศัยอยู่กรุงปารีส เขาใช้ชีวิตอยู่ที่นั่น16ปี ตอนนั้นผลงานของเขาไม่ค่อยเป็นที่นิยมเนื่องจากแนวดนตรีของเขา มันใหม่เกิน คนที่นั่นไม่ค่อยเข้าใจ เขาจึงคิดจะกลับไปที่บ้านเกิด สถานที่ที่ผลงานของเขายังเป็นที่ยอมรับ เขาไปใช้ชีวิตที่มอสโก ในปีค.ศ.1936 และปีค.ศ.1948โปรโคเฟียฟถูกโจมตีจากทางการครั้งแรกว่าดนตรีของเขามันไม่สอดคล้องกับกฏหมาย ดนตรีของเขาถูก ห้ามแสดง ในอายุ54ปีของเขา โปรโคเฟียฟนับได้ว่าเป็นนักแต่งเพลงชั้นแนวหน้าของสหภาพโซเวียต เขามีความสนใจในเรื่องของนวัตกรรมดนตรี โปรโคเฟียฟเดินทางไปต่างประเทศเพื่อหาความรู้และสร้างผลงานต่างๆ เขามีความสนใจการ ประพันธ์บัลเล่ต์ การทําางานดนตรีร่วมกับการสร้างภาพยนตร์ ในช่วงหลังของชีวิตเขาป่วยหนักเรื่อยๆจนได้เสียชีวิตในช่วงอายุ61ปี

ไวโอลินคอนแชร์โตเบอร์หนึ่งเป็นเพลงที่เขายังคงแสดงออกถึงความเป็นยุคโรแมนติคอยู่ เขาแต่งตอนนั้นเป็นช่วงที่เขาค่อนข้างยุ่งอยู่กับการ แต่งโอเปร่าเรื่อง เดอะ แกมเบลอ (The Gambler) เขาเขียนคอนแชร์โต้เบอร์หนึ่งนี้โดยมีความคิดว่าจะแต่งเป็น คอนแชร์ติโน้ (คอนแชร์โต้ สั้นๆ) โปรโคเฟียฟได้แรงบันดาลใจในการแต่งทําานองของคอนแชร์โต้นี้มาจากตอนที่เขาไปดูการแสดงบทประพันธ์เพลงของคาโรล ซิมานอฟ สกี (Karol Szymanowski) นักประพันธ์ชาวโปแลนด์ เพลงชื่อ “Myths”

ไวโอลินคอนแชร์โตเบอร์นี้มีท่อนหนึ่งที่แบ่งเป็นช่วงช้า-เร็ว-ช้า โดยท่อนของไวโอลินโซโล่นั้นจะยังคงเด่น แต่ก็แปลก แต่พาร์ทโซโล่ก็ไม่ได้ทําาให้ พาร์ทแอคคอมนั้นยุ่งเหยิงอะไร ยังคงแก่นสารของเขาอยู่
ที่นําามาเล่นในครั้งนี้เป็นท่อนที่หนึ่ง ปกติแล้วทั้งเพลงจะมีทั้งหมดสามท่อน โดยท่อนที่หนึ่งนี้เริ่มต้นขึ้นมาด้วยทําานองที่เรียบง่ายและลื่นไหล ต่อด้วยช่วงที่มีการใช้โครมาติค(การเล่นโน๊ตครึ่งเสียงไล่ๆกัน) หลังจากนั้นเข้าสู่ช่วงเร็วของท่อนด้วยความรวดเร็ว โปรโคเฟียฟมีความชอบ ในทําานองท่อนแรกเขาจึงเอามันกลับมาใช้ในตอนจบอีกครั้งนึงในท่อนช้า

Violin Concerto No.1 in D Major, Op.19 Composed by Sergey Prokofiev I.Andantino

Prokofiev was born in the Ukraine and lived a comfortable life. He began studying piano with his mother, who
was a pianist. His mother inspired him to start his musical career. She liked Beethoven, Chopin, and Liszt’s works. Prokofiev heard his mother playing those composers all the time throughout his formative years. Next 1904, he was accepted by the St. Petersburg Conservatory where he met many famous composers and exchanged ideas and tech- niques with them. Prokofiev was free thinker and had tremendous energy to achieve his musical vision.

At the time of the first World War, he got exempted by the commissar of culture under Lenin in 1918 to travel to abroad. He went to America. He also took his scores including this concerto with him. After encountering success in America, Prokofiev moved to Paris where he lived for 16 years. However, his music wasn’t successful there and was judged too complicated and radically new. Prokofiev went back to his home country where his music was still acceptable. In 1936, he moved to Moscow.In 1948, Prokofiev was accused of making music that didn’t follow the acceptable rules of the time. His music would not be performed in public anymore after he was 54.

Prokofiev was a great composer from the Soviet Union. He was interested in musical innovation and traveled to many places to gather more knowledge and create new works. He also had a keen interest in ballets and films for which he composed many scores. At the end of his life, he was very sick. He couldn’t live that long because of his sickness.

The Violin Concerto No.1 in D Major, Op.19 is a piece reflecting Prokofiev’s romantic tendencies. He started to compose it while working on “The Gambler” opera so he didn’t had much time to focus with this work. This movement was inspired by a performance of Karol Szymanowski’s “Myths” The Polish composer.
In this Concerto, Prokofiev created this piece as a ‘concertino’, The violin solo, it is still dominant but also uncom- mon. Still, the solo part doesn’t make any confuse to the accompany.

This first movement, Andantino has a slow-fast-slow structure, in the opening theme of the piece is simple and lyrical melody from violin part. It marked on the part to be played “sognando” (dreamily), followed by a chromatic passage leading into a fast section. The first opening theme was his favorite, so he decided to repeat it at the end.

Sonata for violin and piano No.1 in D Major, Op.12 No.1 Composed by Ludwig van Beethoven
I.Allegro con brio

เบโทเฟ่นเป็นนักประพันธ์ชาวเยอรมัน เกิดในเมืองบอนน์ ในครอบครัวที่มีพ่อและบรรพบุรุษของเขาเป็นนักดนตรี พ่อของเขาคิดอยากที่จะปั้น ลูกของตนให้เป็นแบบโมสาร์ท ซึ่งตอนนั้นโมสาร์ทถูกมองว่าเป็นคนที่มีอัจฉริยะทางดนตรี
เบโทเฟ่นถูกเคี่ยวเข็นในการเล่นดนตรีในกรอบ ที่ต้องเหมือนโมสาร์ท ซึ่งในขณะนั้นเขาค่อนข้างมีความคิดทางดนตรีที่แตกต่างจากแบบของ โมสาร์ทตั้งแต่ในช่วงอายุเด็กๆแล้ว เบโทเฟ่นมีความคิดที่เป็นอิสระทางการสร้างสรรค์เสียงดนตรี ซึ่งต่างออกไปจากยุคนั้น ที่ดนตรีค่อนข้าง มีกรอบ หลังจากนั้นเบโทเฟ่นได้มีโอกาสไปเรียนเป็นลูกศิษย์ของไฮเดินที่เวียนนา การไปที่เวียนนาของเขาซึ่งเป็นเมืองที่เจริญรุ่งเรืองทางด้าน ดนตรีสุดๆก็เหมือนทําาให้เขาได้เปิดโลกของเขา หลังจากที่เขามาเรียนทําางานอยู่ที่เวียนนาซักพัก พ่อของเขาได้เสียชีวิตลง ทําาให้จากที่ปกติ แล้วเขาเป็นคนที่ต้องส่งเสียหาเงินให้คนในบ้านอยู่แล้วตอนนี้เขากลายเป็นเสาหลักของบ้านไปเลย แต่หลังจากนั้นเบโทเฟ่นก็รู้สึกมีอิสระทาง ใจในการแต่งเพลงตามใจตนมากขึ้น เขาเริ่มต้นผลงานดนตรีของเขา เสียงในหัวของเขาออกมาใส่ในผลงานได้อย่างเสรี แล้วหลังจากที่แม่ของ เขาเสียชีวิตลง เบโทเฟ่นก็อาศัยอยู่ที่เวียนนาไปเลย

เบโทเฟ่นมีความสนใจในเรื่องของการเมืองหลังจากที่เขาได้ทําาผลงานแต่งเพลงให้แก่ จักรพรรดิโยเซฟที่สอง(Joseph II) และการที่เขาจะแต่ง เพลงศาสนาอย่างจริงจังนั้น เขาได้ทําาการศึกษาผลงานของนักประพันธ์เพลงคนก่อนๆเช่น โยฮันน์ เซบาสเตียน บาค หรือ จอร์จ ฟริดริก แฮนเดิล เป็นต้น และยุคก่อนหน้านั้นอีกด้วย เบโทเฟ่นมีช่วงเวลาที่ลําาบากคือเขาเริ่มไม่ได้ยินเสียงขึ้นเรื่อยๆ จนกลายเป็นนักดนตรีหูหนวก เขามีความทุกข์มาก แต่เบโทเฟ่นก็สามารถหลุดจากทุกข์ตรงนั้นมาได้ก็เพราะความรักในดนตรี ความต้องการที่จะเขียนเพลง สิ่งที่เขาได้ยินใน ยามที่หูใช้การไม่ได้ออกมาจนกว่าเขาจะหมดลมหายใจจากโลกนี้ไป

โดยผลงานโซนาต้าเบอร์1 ของเบโทเฟ่นนี้ เขาแต่งออกมาเป็นชุด ผลงานลําาดับที่ 12 สําาหรับไวโอลินกับเปียโน ลักษณะงานเขายังคงได้ อิทธิพลในช่วงยุคคลาสสิคอยู่คือมีฟอร์มอะไรที่ชัดเจน โดยท่อนแรกจะขึ้นมาด้วยคอร์ดที่แข็งแรงและมั่นคงพร้อมกันทั้งเปียโนและไวโอลิน ต่อมาด้วยเมโลดี้ที่ไหลลื่นและเป็นธรรมชาติโดยไวโอลิน แล้วถูกส่งต่อไปให้เปียโน โดยที่จะผลัดกันเป็นคนดําาเนินทําานองและแนวประสานกัน ไปมาได้อย่างน่าสนใจเป็นอีกหนึ่งทักษะของเบโทเฟ่นในการสร้างสรรค์ บางครั้งจะเห็นได้ชัดเช่นแนวของไวโอลินจะค่อนข้างอารมณ์น่าตื่นเต้น ในขณะที่เปียโนจะเล่นอย่างสงบ แต่ยังคงเคลื่อนที่ไปข้างหน้าไปด้วย กัน และบางครั้งก็สลับกัน

Sonata for violin and piano No.1 in D Major, Op.12 No.1 Composed by Ludwig van Beethoven
I.Allegro con brio

Beethoven was born in Bonn, Germany in 1770. Both his father and grandfather were musicians. His father wanted him to become a prodigy like Mozart. Beethoven’s father forced him to play music in strict form. However, be- cause of his talent, Beethoven already had his own unique ideas about the kind of music he wanted to make, but his father still wanted him to be like Mozart. Then, Beethoven had the opportunity to study with Joseph Haydn in Vienna. He then spent time in the Austrian capital where hemet many talented people. After moving to Vienna, his father passed away so he became the head of the family with all financial responsibilities resting on his shoulders. He started composing more freely incorporating many new ideas. After his mother passed away he never returned to Bonn. Beethoven had been interested to politics after he composed the piece for Joseph II, he was also interest- ed in religious music. He studied works by Johann Sebastian Bach, George Frideric Handel and many more from ancient times.

Beethoven struggled at the end of his life as he lost of hearing. He suffered a lot at that time. Still, his passion for music overcame his loss, so he still continued working on his music that he loved.

This piece sonata No.1 in D Major was composed in 1797-1798. Beethoven composed his three Op.12 sonatas for violin and piano and dedicated them to Salieri. This work reflects the high classicism that he inherited from both Mozart and Haydn but adding his own unique character and heightened emotional lyricism. In the beginning start with a bold ascending unison theme from both instruments following with lyrical tune initiated by the violin and picked up by the piano. Beethoven showed his skill in achieving a conversational atmosphere throughout the move- ment. There is clearly sound in the violin part in lively mood. Meanwhile, gracefully piano part keeps the forward motion.

Violin Sonata No.1 in a minor, Op.105 Composed by Robert Schumann
I.Mit leidenschaftlichem Ausdruck

ชูมันเป็นนักประพันธ์เพลงชาวเยอรมัน เขาเกิดที่ Zwickau ในบ้านใหญ่ที่มีพ่อเป็นคนขายหนังสือ ชูมันสามารถหาหนังสือมาอ่านได้ และมีเปียโนที่พ่อเขาเป็นคนให้ ชูมันอ่านหนังสือของชิลเล่อ, เกอเธ่ และ ฌอง ปอล ริคช์เตอ(Schiller, Goethe and Jean Paul Richter) เขาเล่นเปียโนเพลงของโมสาร์ท, ไฮเดิน, เบโทเฟ่น ชูมันมีแรงบันดาลใจการเล่นดนตรีมาจากดนตรีของชูเบิร์ต เขาชื่นชอบผลงานชูเบิร์ต พ่อของชูมันเสียชีวิตตอนที่เขาอายุ16ปี หลังจากนั้นชูมันก็ขาดที่พึ่งพิงสําาคัญหนึ่งไป ชูมันถูกโน้มน้าวให้ไปเรียนมหาวิทยาลัยทางด้านกฏ หมาย แม่ของเขาไม่สนับสนุนเขาในเรื่องของดนตรีเอาเสียเลย ชูมันเข้าเรียนมหาลัยในสาขาทางด้านกฏหมายที่มหาวิทยาลัยไลป์ซิก (the University of Leipzig) แต่เขาก็ยังคงรู้สึกว่าอย่างอื่นน่าสนใจมากกว่า เช่น ดนตรี ปรัชญา หลังจากที่เขาเรียนกฏหมายไปเรื่อยๆเขารู้สึก อยากเลิกเรียนและไม่มีความสุขกับการใช้ชีวิตที่ไลป์ซิก แต่ซักพักเขาก็เจอทางออกหนึ่งที่ทําาให้ตัวเองมีความสุขขึ้นมาหน่อยคือการเขียน กลอน แต่ชูมันไม่สามารถทนเรียนได้นานนักเขาก็ได้เลิกเรียนกฏหมายไป ชูมันมีโอกาสได้เรียนกับนักเปียโนที่มีชื่อเสียงคือ ฟริดริช วิค (Friedrich Wieck) ซึ่งต่อมาชูมันก็แต่งงานกับลูกของวิค คือ คลาร่า ซึ่งในตอนแรกพ่อของคลาร่าก็ไม่ได้เห็นดีด้วย โรเบิร์ตทําางานเป็นนักประพันธ์ส่วนคลาร่าเป็นคนเล่นเปียโน

ชูมันมีอาการป่วยทางจิต ในช่วงหลังจากค.ศ.1850ชูมันเริ่มทดลองประพันธ์หลากหลายอย่างขึ้นแล้วด้วยที่อาการป่วยของเขายังคงหนักขึ้น ทําาให้มีอารมณ์แตกต่างกันสุดขั้ว ซึ่งเพลงนี้นําาเสนอตัวเขากับอาการป่วยนั้นออกมาได้อย่างชัดเจน

ไวโอลินโซนาต้า เบอร์1นี้ถูกแต่งขึ้นเมื่อตอนปีค.ศ.1851 โดยท่อนแรกนี้ที่เปี่ยมไปด้วยอารมณ์ (with passionate expression) ด้วย ความที่อยู่ในสเกลไมเนอร์ อารมณ์ของท่อนนี้จึงไม่ได้ไปในทางบวกนัก มีความโศกเศร้าอยู่ในนั้น มีความหลายขั้วอารมณ์อยู่ในนั้น เริ่มด้วย ทําานองหลักเปิดขึ้นมา ไวโอลินมีเสียงที่ค่อนข้างลึกและเปียโนที่เข้ามาเหมือนเป็นพายุ ทําานองมีความครึ่งๆกลางๆ จนลดลงมาแล้วกลับขึ้น ไปเยอะอีกครั้ง เป็นท่อนที่อารมณ์มีความสุดโต่งพอควร โดยชูมันผู้แต่งนั้นมีความต้องการให้ไวโอลินนั้นมีหลากหลายบทบาทที่แตกต่างกัน เช่น อารมณ์เปราะบางหรือแข็งกร้าว บางครั้งหลงใหล บางครั้งก็หนักหน่วง

“ทั้งชีวิตของผมได้ครุ่นคิดแต่เกี่ยวกับการประพันธ์หรือร้อยแก้ว หรือที่เรียกว่าดนตรีหรือกฎหมาย” “กลอนสะท้อนชีวิตได้ดีกว่ามนุษย์เอง ฉันมองไม่เห็นความจริงหรอก แต่จากประสบการณ์ส่วนตัว กลอนทําาให้ชีวิตเรียบง่ายขึ้นนะ”

“นี่แหละชีวิต จุดหมายที่เราเคยต้องการ ไม่สามารถทําาให้เราพอใจได้อีกต่อไป เราตั้งเป้าหมาย เรามุ่งมั่นไปสู่เป้าหมาย จนกระทั่งตาเราเสื่อม สภาพ ร่างกายและจิตใจของเรานอนอยูในหลุมศพ”

-โรเบิร์ต ชูมัน

Violin Sonata No.1 in a minor, Op.105 Composed by Robert Schumann
I.Mit leidenschaftlichem Ausdruck

Schumann was a German composer. He was born in Zwickau in a comfortable household. His father was a book- seller. He loved reading Schiller, Goethe, and Jean Paul Richter’s books. He played piano pieces by Mozart, Haydn, Beethoven and also loved the music of Schubert. His father passed away when he was 16, so he had nobody to give advice to him anymore.

“The struggle between poetry and prose” began..

Schumann’s mother convinced him to study law because she didn’t agree with him him studying music. He studied at the University in Leipzig as a law student, but maintained an interest in Music and Philosophy. As a law student in Leipzig, he was bored and unhappy. However, Schumann found a way to get out of that feeling while he wrote poem. Still, he felt that he couldn’t study there. He resigned from the university and went to studied the pia- no with Friedrich Wieck where he was a famous pianist at that time. Schumann got married with Wieck’s daughter, Clara Josephine Wieck. At first, Friedrich Wieck against this idea. Robert did his role as a composer and Clara was a pianist. Schumann’s health was not good when he was mental suffering and depression. In 1850, Schumann com- posed in variety of genre while his health was not in a good condition. His emotions quickly changed. This piece also presents his bipolar mood.

The first movement of violin sonata No.1 in a minor Op.105, Mit leidenschaftlichem Ausdruck (with passionate ex- pression), is not in the way of happy mood. This piece is in minor key. It sounds sorrow and have mixed emotions. The opening motive begins in the depths of the violin with tempestuous piano arpeggios. It reaches tentatively, falls back and reaches again.

In this movement, many places have suddenly changed. Schumann wrote many instruments to have diverse charac- ters and emotions - passionate or increasingly intensive.

“My life has been for twenty years a struggle between poetry and prose, or, if you prefer, between music and law.”

“The poet sees better than other mortals. I do not see things as they are, but according to my own subjective im- pression, and this makes life easier and simpler.”

“Thus it is ever in life. The aim we once pursued no longer satisfy us; we aim. We strive, we aspire, until sight fails, and mind and body find rest in the grave.”

-Robert Schumann

bottom of page